ศิลปหัตถกรรมไทย

  • การศึกษารูปแบบงานไม้แกะสลักเพื่อหาแนวทางอนุรักษ์ สืบสานและพัฒนา โดยดูการตลาดแบบดิจิทัล กรณีศึกษาชุมชนบ้านกิ่วแลน้อย จังหวัดเชียงใหม่

    การศึกษารูปแบบงานไม้แกะสลักเพื่อหาแนวทางอนุรักษ์ สืบสานและพัฒนา โดยดูการตลาดแบบดิจิทัล กรณีศึกษาชุมชนบ้านกิ่วแลน้อย จังหวัดเชียงใหม่

    Element Value Title การศึกษารูปแบบงานไม้แกะสลักเพื่อหาแนวทางอนุรักษ์ สืบสานและพัฒนา โดยดูการตลาดแบบดิจิทัล กรณีศึกษาชุมชนบ้านกิ่วแลน้อย จังหวัดเชียงใหม่ Alternative The Conservation of Local Wisdom Wood Carvings and the Development of Design for Digital Market: Case Study Kiew Lae Noi Village, Chiangmai Province Creator อาจารย์ธนิยาภรณ์ ศรีหาตา Subject งานไม้แกะสลัก, ภูมิปัญญาท้องถิ่น, การอนุรักษ์ศิลปหัตถกรรม, ตลาดดิจิทัล, งานหัตถกรรมไทย Description โครงการศึกษานี้มุ่งศึกษารูปแบบงานไม้แกะสลักของชุมชนบ้านกิ่วแลน้อย อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งมีประวัติความเชี่ยวชาญในการทำช้างไม้แกะสลักเพื่อยังชีพมาหลายชั่วอายุคน แต่เริ่มลดความนิยมลงในยุคดิจิทัล จึงมีเป้าหมายเพื่อเก็บข้อมูลศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นประเภทงานไม้แกะสลัก ตลอดจนออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ร่วมกับช่างฝีมือรุ่นเก่า เพื่อเข้าสู่ตลาดดิจิทัล โดยใช้กระบวนการออกแบบต้นแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เชื่อมโยงกับอัตลักษณ์ท้องถิ่น พร้อมศึกษาศักยภาพการขายออนไลน์ของกลุ่มช่างไม้ในชุมชน Publisher คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้…