ศิลปะล้านนา

  • ผลงานสร้างสรรค์ “โคมล้านนาสู่ลวดลายผ้าร่วมสมัย”

    ผลงานสร้างสรรค์ “โคมล้านนาสู่ลวดลายผ้าร่วมสมัย”

    Element Value Title ผลงานสร้างสรรค์ “โคมล้านนาสู่ลวดลายผ้าร่วมสมัย” Alternative Creative from Lanna Lanterns to Contemporary Fabric Patterns Creator อ.ดร.วิรินทร์ภัทร์ บูรณะสระกวี Subject โคมล้านนา, ลวดลายผ้า, แฟชั่นร่วมสมัย, ศิลปะประยุกต์, ศิลปวัฒนธรรมพื้นเมือง Description ผลงานสร้างสรรค์นี้ได้รับแรงบันดาลใจจากโคมล้านนา ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ทางศิลปวัฒนธรรมของภาคเหนือ นำมาออกแบบเป็นลวดลายผ้าแฟชั่นร่วมสมัย โดยผสมผสานความงามของรูปทรง สีสัน ลวดลาย และความหมายของโคมในพิธีกรรมล้านนา นำไปสู่การออกแบบลายผ้าในบริบทใหม่ทั้งด้านการตกแต่งแฟชั่น เสื้อผ้า และการแสดง โดยมีการถอดองค์ประกอบหลักของโคม เช่น รูปทรงหกเหลี่ยม ลายฉลุ ลวดลายเรขาคณิต มาออกแบบในรูปแบบลวดลายสิ่งทอร่วมสมัย พร้อมทั้งใช้เทคนิคการจัดวางลวดลาย (Composition) การพิมพ์ผ้า และการทดลองสร้างสรรค์การใช้งานจริงผ่านงานออกแบบแฟชั่นและการแสดงเชิงวัฒนธรรม Publisher คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ Contributor โครงการผลงานวิชาการคณาจารย์ นักวิจัย ฉลองครบรอบ 20 ปี คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้…

  • รูปแบบเซรามิกประดับล้านนา สู่การรื้อฟื้นสูตรน้ำเคลือบดินเผา

    รูปแบบเซรามิกประดับล้านนา สู่การรื้อฟื้นสูตรน้ำเคลือบดินเผา

    Element Value Title รูปแบบเซรามิกประดับล้านนา สู่การรื้อฟื้นสูตรน้ำเคลือบดินเผา Alternative Lanna Ceramic Pattern Towards the Revival of the Clay Glaze Formula Creator ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฐาปกรณ์ เครือระยา Subject เซรามิกล้านนา, น้ำเคลือบดินเผา, เครื่องปั้นดินเผา, ภูมิปัญญาท้องถิ่น, ศิลปะล้านนา Description งานวิจัยนี้มุ่งศึกษารูปแบบและลวดลายของเซรามิกประดับที่พบในศิลปกรรมล้านนา และการรื้อฟื้นสูตรน้ำเคลือบดินเผาโบราณที่มีการใช้ในวัดวาอารามทั่วภาคเหนือ การวิจัยได้รวบรวมข้อมูลจากวัด 12 แห่งในจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน และลำปาง ครอบคลุมช่วงเวลาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 22 จนถึง 24 โดยจำแนกลวดลายเป็นกลุ่มสำคัญ อาทิ ช่อฟ้า เมฆไหล ยักษ์ และสัตว์ในตำนาน นอกจากนี้ยังทดสอบสูตรการเผาเคลือบที่มีองค์ประกอบแตกต่างกัน เช่น สูตรเปลือกมะขาม สูตรเปลือกข้าวโพด สูตรเปลือกกล้วย สูตรเปลือกลำไย ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าสูตรเปลือกลำไยให้เฉดสีน้ำตาลเทาอ่อนที่มีความใกล้เคียงกับเครื่องปั้นดินเผาโบราณ และให้ผิวเรียบสม่ำเสมอบนดินเหนียวเกาะดี เป็นแนวทางที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการอนุรักษ์และฟื้นฟูศิลปหัตถกรรมล้านนาได้อย่างยั่งยืน Publisher คณะศิลปศาสตร์…