FOLKWAYS

“ส่งเคราะห์” พิธีกรรมทางล้านนา ส่งสิ่งชั่วร้าย เพื่อให้อยู่สุขสบาย ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และอันตรายทั้งปวง

พิธีกรรมของแต่ละพื้นที่ถึงแม้จะมีชื่อเรียกและใจความสำคัญเหมือนกัน แต่รายละเอียดต่าง ๆ มีความแตกต่างกันไปเล็กน้อยตามความเชื่อและความศรัทธาของแต่ละชุมชน รวมถึงคาถาในการส่งเคราะห์ก็แตกต่างกันไปตามตำราที่บุคคลศึกษามา พิธีกรรมส่งเคราะห์ เกิดจากการที่บุคคลถูกคนทำไม่ดีใส่ ประสบอุบัติเหตุ ค้าขายไม่ได้กำไร เจ็บป่วย อย่างมีสาเหตุหรือไม่มีสาเหตุก็ได้ ถือว่าบุคคลนั้นมีเคราะห์กรรมมากระทบ ต้องทำพิธีกรรมให้หายจาก โรคภัยไข้เจ็บ ไม่ให้มีเคราะห์ ให้อยู่สุขสบาย ช่วงเวลา ไม่มีการกำหนดวันในการทำพิธีตายตัว แต่จะทำก็ต่อเมื่อมีคนเจ็บไข้ได้ป่วยและต้องการให้หายจากโรคภัยไข้เจ็บ ไม่ให้มีเคราะห์มีหนาม โดยนิยมทำช่วงเช้า อุปกรณ์ 1. ...
FOLKWAYS

“จอบตุ่ม” การถอดพิษด้วยไข่ไก่

การจอบตุ่มหรือความเชื่อต่าง ๆ ของผู้คนบางครั้งไม่สามารถที่จะไปหาต้นเหตุหรือความเป็นมาได้แล้ว จึงต้องอาศัยการมาเล่าสู่กันฟังจากคนที่เขาเคยทำ เคยได้ยินมาก่อน และความเชื่อของแต่ละคนมีความต่างกันนิดหน่อย บอกไม่ได้ว่าใครถูกใครผิด ถึงแม้จะอยู่ในอำเภอเดียวกัน การจอบตุ่ม เป็นพิธีกรรมหนึ่งที่ช่วยในการรักษาโรค โดยคำว่า “จอบ” หมายถึง ชักจูง หรือล่อให้ตาม ส่วนคำว่า “ตุ่ม” หมายถึง เม็ดที่เกิดขึ้นตามผิวหนัง ดังนั้น “การจอบตุ่ม” เป็นการล่อให้ตุ่มหรือพิษ ออกจากร่างกายเมื่อบุคคลนั้นไม่สบาย ...
FOLKWAYS

“ตั้งธรรมหลวง” เทศน์มหาชาติ ฟังธรรมครั้งยิ่งใหญ่

ตั้งธรรมหลวง หมายถึง การเทศน์ธรรมชาดกที่ยาวกว่าเรื่องอื่น ๆ และเป็นการฟังเทศน์ครั้งใหญ่ มีคนมาร่วมฟังเทศน์กันเป็นจำนวนมาก ซึ่งการฟังเทศน์ครั้งใหญ่มีทั้งการฟังเทศน์แบบธรรมวัตรและฟังมหาเวสสันดรด้วย (ปณิตา สระวาสี, 2559) รูปแบบการตั้งธรรมหลวง มี 2 แบบ (ปณิตา สระวาสี, 2559) ดังนี้ วัตถุประสงค์ ช่วงเวลาในการตั้งธรรมหลวง การตั้งธรรมหลวงส่วนใหญ่จะจัดในช่วงเดือนยี่เป็งหรือวันลอยกระทง และมีการจัดในช่วงเดือนสี่เป็ง นอกจากนี้ยังมีการตั้งธรรมฟังเทศน์มหาชาติในกรณีพิเศษ ...